กลืนกรด ด่าง น้ำมันก๊าด เบนซิน หรือสารกัดกร่อน ซึ่งจะรู้ได้เพราะกลิ่น หรือมีแผลไหม้ในปากและคอ
1. ห้ามทำให้อาเจียน
2. ให้ดื่มน้ำเย็นหรือนม (แต่ถ้าคลื่นไส้หรืออาเจียน ไม่ควรให้ดื่ม)
3. รีบพาไปหาหมอ
ทำไมต้องมีการปฐมพยาบาล และการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อเป็นก็ดูแลผู้ป่วยก่อนที่จะถึงมือแพทย์ ได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัยที่สุด
วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
กรดหรือด่างลวกผิวหนัง
กรดหรือด่างลวกผิวหนัง
1. แช่หรือจุ่มอวัยวะส่วนนั้นลงในอ่างน้ำ หรือล้างน้ำนานๆ
2. ล้างด้วยน้ำสบู่จางๆ
3. ถ้าผิวหนังลอกออก ให้ทำแผลแบบไฟลวก
1. แช่หรือจุ่มอวัยวะส่วนนั้นลงในอ่างน้ำ หรือล้างน้ำนานๆ
2. ล้างด้วยน้ำสบู่จางๆ
3. ถ้าผิวหนังลอกออก ให้ทำแผลแบบไฟลวก
วันอาทิตย์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
กรดหรือด่างเข้าตา
กรดหรือด่างเข้าตา
1. ห้ามขยี้ตา รีบล้างตาด้วยน้ำสะอาดมากๆ หลายๆครั้ง
2. ห้ามใช้ด่างหรือกรดล้างแก้ฤทธิ์ เพราะจะยิ่งมีอันตรายต่อดวงตามากขึ้น
3. รีบพาไปหาหมอ
1. ห้ามขยี้ตา รีบล้างตาด้วยน้ำสะอาดมากๆ หลายๆครั้ง
2. ห้ามใช้ด่างหรือกรดล้างแก้ฤทธิ์ เพราะจะยิ่งมีอันตรายต่อดวงตามากขึ้น
3. รีบพาไปหาหมอ
วันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
สำลักสิ่งแปลกปลอมแล้วติดคอหรือหายใจไม่ออก
สำลักสิ่งแปลกปลอมแล้วติดคอหรือหายใจไม่ออก
1. ถ้ายังหายใจได้ พูดได้ อย่าพยายามล้วงออก ให้รีบไปหาหมอ
2. กรณีผู้ป่วยรู้สึกตัว เป็นผู้ใหญ่หรือเด็กโต ให้ใช้วิธี “รัดท้องอัดยอดอก” หรือ “รัดอัดท้อง” โดย
1) ผู้ช่วยเหลือยืนข้างหลังผู้ป่วย ใช้แขน 2 ข้างโอบรอบเอวผู้ป่วย
2) ผู้ช่วยเหลือกำหมัดข้างหนึ่งวางบริเวณเหนือสะดือผู้ป่วยเล็กน้อยใต้กระดูกอ่อนลิ้นปี่ ดังรูป
3) ผู้ช่วยเหลือใช้มืออีกข้างจับมือที่กำหมัดไว้ แล้วทำการอัดเข้าท้องแรงๆเร็วๆขึ้นไปข้างบน
4) อัดหมัดเข้าท้องซ้ำๆกันหลายๆครั้งจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมาหรือผู้ป่วยหมดสติ
3. กรณีอยู่ลำพัง ช่วยเหลือตัวเองดังนี้
1) กำหมัดข้างหนึ่งวางเหนือสะดือ
2) ใช้มืออีกข้างจับมือที่กำหม้ดไว้แล้วก้มต้วให้มือพาดขอบแข็งๆ เช่น พนักเก้าอี้ ขอบโต๊ะ
3) ก้มตัวแรงๆเพื่อกระแทกหมัดอัดเข้าท้องในลักษณะดันขึ้นข้างบน ทำซ้ำหลายๆครั้ง จนกว่าสิ่งแปลกปลอมหลุด
4. กรณีเด็กทารกต่ำกว่า 1 ปี
1) จับทารกนอนคว่ำบนแขน ให้ศีรษะต่ำลงเล็กน้อย
2) ใช้ฝ่ามือตบลงกลางหลังของทารก ระหว่างกลางของสะบัก 2 ข้าง เร็วๆ 5 ครั้ง ดังรูป
3) ถ้าไม่ได้ผล จับทารกนอนหงายบนแขนให้ศีรษะต่ำ แล้วใช้นิ้วชี้กับนิ้วกลางวางบนกระดูดหน้าอกเหนือกระดูกลิ้นปี่ แล้วกด
อกลง (ประมาณครึ่งถึง 1 นิ้ว) เร็วๆ 5 ครั้ง ดังรูป
4) ถ้าไม่ได้ผล ให้ทำการ “ตบหลัง” 5 ครั้ง สลับกับ “กดหน้าอก” 5 ครั้ง จนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดหรือทารกหมดสติ
0025006 ยาในชีวิตประจำวัน (Drug in Daily Life) ภญ.ดร.สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์ หน้า 36
5. กรณีผู้ป่วยหมดสติ
1) จับผู้ป่วยนอนหงายบนพื้น
2) เปิดทางหายใจให้โล่ง โดยวิธี “เงยหน้า เชยคาง” ดังรูป
3) ตรวจในช่องปาก ถ้ามองเห็นสิ่งแปลกปลอมชัดเจน ให้ใช้นิ้วชี้ค่อยๆเขี่ยและเกี่ยวออกมา ถ้ามองไม่เห็นหรืออยู่ลึก ไม่ควรใช้
นิ้วล้วงเพราะสิ่งแปลกปลอมอาจหลุดลึกเข้าไปอีก
4) ลองช่วยหายใจโดยการเป่าปาก 2 ครั้ง ครั้งละ 1-1.5 วินาที ถ้าเป่าแล้ว หน้าอกผู้ป่วยยกขึ้น (ลมเข้าปอด) ให้ช่วยเป่าปาก
ต่อ 10-12 ครั้งต่อนาทีในผู้ใหญ่ 12-20 ครั้งต่อนาทีในเด็กโต หรือ 20-24 ครั้งต่อนาทีในเด็กเล็ก ถ้าหน้าอกไม่ยกขึ้นให้ทำ
ข้อ 5)
5) ทำการอัดท้อง 6-10 ครั้ง ในท่านอนหงายสำหรับผู้ใหญ่ หรือตบหลังสลับกดหน้าอกสำหรับทารกต่ำกว่า 1 ปี ทำจนสิ่ง
แปลกปลอมหลุดหรือผู้ป่วยหายใจเองได้ แล้วตรวจดูในช่องปากเหมือนข้อ 3)
6) ถ้าสิ่งแปลกปลอมไม่หลุด หรือผู้ป่วยหายใจเองไม่ได้ ให้ทำตามข้างต้นทุกข้อจนกว่าจะถึงโรงพยาบาล
7) ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่หายใจและไม่กระดุกกระดิกเลยให้เป่าปากและนวดหัวใจแทน จนกว่าจะถึงโรงพยาบาล และตรวจเช็ค
ช่องปากเป็นระยะ
1. ถ้ายังหายใจได้ พูดได้ อย่าพยายามล้วงออก ให้รีบไปหาหมอ
2. กรณีผู้ป่วยรู้สึกตัว เป็นผู้ใหญ่หรือเด็กโต ให้ใช้วิธี “รัดท้องอัดยอดอก” หรือ “รัดอัดท้อง” โดย
1) ผู้ช่วยเหลือยืนข้างหลังผู้ป่วย ใช้แขน 2 ข้างโอบรอบเอวผู้ป่วย
2) ผู้ช่วยเหลือกำหมัดข้างหนึ่งวางบริเวณเหนือสะดือผู้ป่วยเล็กน้อยใต้กระดูกอ่อนลิ้นปี่ ดังรูป
3) ผู้ช่วยเหลือใช้มืออีกข้างจับมือที่กำหมัดไว้ แล้วทำการอัดเข้าท้องแรงๆเร็วๆขึ้นไปข้างบน
4) อัดหมัดเข้าท้องซ้ำๆกันหลายๆครั้งจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมาหรือผู้ป่วยหมดสติ
3. กรณีอยู่ลำพัง ช่วยเหลือตัวเองดังนี้
1) กำหมัดข้างหนึ่งวางเหนือสะดือ
2) ใช้มืออีกข้างจับมือที่กำหม้ดไว้แล้วก้มต้วให้มือพาดขอบแข็งๆ เช่น พนักเก้าอี้ ขอบโต๊ะ
3) ก้มตัวแรงๆเพื่อกระแทกหมัดอัดเข้าท้องในลักษณะดันขึ้นข้างบน ทำซ้ำหลายๆครั้ง จนกว่าสิ่งแปลกปลอมหลุด
4. กรณีเด็กทารกต่ำกว่า 1 ปี
1) จับทารกนอนคว่ำบนแขน ให้ศีรษะต่ำลงเล็กน้อย
2) ใช้ฝ่ามือตบลงกลางหลังของทารก ระหว่างกลางของสะบัก 2 ข้าง เร็วๆ 5 ครั้ง ดังรูป
3) ถ้าไม่ได้ผล จับทารกนอนหงายบนแขนให้ศีรษะต่ำ แล้วใช้นิ้วชี้กับนิ้วกลางวางบนกระดูดหน้าอกเหนือกระดูกลิ้นปี่ แล้วกด
อกลง (ประมาณครึ่งถึง 1 นิ้ว) เร็วๆ 5 ครั้ง ดังรูป
4) ถ้าไม่ได้ผล ให้ทำการ “ตบหลัง” 5 ครั้ง สลับกับ “กดหน้าอก” 5 ครั้ง จนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดหรือทารกหมดสติ
0025006 ยาในชีวิตประจำวัน (Drug in Daily Life) ภญ.ดร.สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์ หน้า 36
5. กรณีผู้ป่วยหมดสติ
1) จับผู้ป่วยนอนหงายบนพื้น
2) เปิดทางหายใจให้โล่ง โดยวิธี “เงยหน้า เชยคาง” ดังรูป
3) ตรวจในช่องปาก ถ้ามองเห็นสิ่งแปลกปลอมชัดเจน ให้ใช้นิ้วชี้ค่อยๆเขี่ยและเกี่ยวออกมา ถ้ามองไม่เห็นหรืออยู่ลึก ไม่ควรใช้
นิ้วล้วงเพราะสิ่งแปลกปลอมอาจหลุดลึกเข้าไปอีก
4) ลองช่วยหายใจโดยการเป่าปาก 2 ครั้ง ครั้งละ 1-1.5 วินาที ถ้าเป่าแล้ว หน้าอกผู้ป่วยยกขึ้น (ลมเข้าปอด) ให้ช่วยเป่าปาก
ต่อ 10-12 ครั้งต่อนาทีในผู้ใหญ่ 12-20 ครั้งต่อนาทีในเด็กโต หรือ 20-24 ครั้งต่อนาทีในเด็กเล็ก ถ้าหน้าอกไม่ยกขึ้นให้ทำ
ข้อ 5)
5) ทำการอัดท้อง 6-10 ครั้ง ในท่านอนหงายสำหรับผู้ใหญ่ หรือตบหลังสลับกดหน้าอกสำหรับทารกต่ำกว่า 1 ปี ทำจนสิ่ง
แปลกปลอมหลุดหรือผู้ป่วยหายใจเองได้ แล้วตรวจดูในช่องปากเหมือนข้อ 3)
6) ถ้าสิ่งแปลกปลอมไม่หลุด หรือผู้ป่วยหายใจเองไม่ได้ ให้ทำตามข้างต้นทุกข้อจนกว่าจะถึงโรงพยาบาล
7) ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่หายใจและไม่กระดุกกระดิกเลยให้เป่าปากและนวดหัวใจแทน จนกว่าจะถึงโรงพยาบาล และตรวจเช็ค
ช่องปากเป็นระยะ
วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ถูกแมงกะพรุนไฟ
ถูกแมงกะพรุนไฟ
1. ใช้ใบมีดหรือแผ่นพลาสติกขูดบริเวณนั้นเพื่อเอาเมือกออก
2. ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดกับสบู่
0025006 ยาในชีวิตประจำวัน (Drug in Daily Life) ภญ.ดร.สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์ หน้า 35
3. ใช้ผักบุ้งทะเล (ขยี้ให้มีน้ำ) หรือวุ้นจากใบว่านหางจระเข้ทา หรือทาด้วยน้ำปูนใส หรือครีมสเตียรอยด์ หรือแอมโมเนีย
4. ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ให้นำส่งโรงพยาบาล
1. ใช้ใบมีดหรือแผ่นพลาสติกขูดบริเวณนั้นเพื่อเอาเมือกออก
2. ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดกับสบู่
0025006 ยาในชีวิตประจำวัน (Drug in Daily Life) ภญ.ดร.สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์ หน้า 35
3. ใช้ผักบุ้งทะเล (ขยี้ให้มีน้ำ) หรือวุ้นจากใบว่านหางจระเข้ทา หรือทาด้วยน้ำปูนใส หรือครีมสเตียรอยด์ หรือแอมโมเนีย
4. ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ให้นำส่งโรงพยาบาล
วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ตะขาบ แมงมุม แมงป่อง กัด
ตะขาบ แมงมุม แมงป่อง กัด
1. ทาแผลด้วยครีมสเตียรอยด์ หรือแอมโมเนีย
2. ถ้าปวด กินยาแก้ปวด ใช้น้ำแข็งประคบ
3. ถ้าปวดมาก พาไปหาหมอ
1. ทาแผลด้วยครีมสเตียรอยด์ หรือแอมโมเนีย
2. ถ้าปวด กินยาแก้ปวด ใช้น้ำแข็งประคบ
3. ถ้าปวดมาก พาไปหาหมอ
วันเสาร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ผึ้ง ต่อ แตน ต่อย
ผึ้ง ต่อ แตน ต่อย
1. ใช้หลอดกาแฟ หรือปลายปากกาลูกลื่นที่ถอดไส้ปากกออก ครอบจุดที่ถูกกัด กดลงให้เหล็กในโผล่ แล้วดึงเหล็กในออก ถ้า
บริเวณที่ถูกต่อยบวมแล้ว อย่าไปบีบเพราะจะทำให้อักเสบมากขึ้น
2. ใช้หัวหอมผ่าครึ่ง เอาด้านที่ผ่าถูผิวหนังบริเวณที่ถูกต่อย ทำซ้ำทุก 5 นาที
3. ทาแผลด้วยครีมสเตียรอยด์ หรือแอมโมเนีย
4. ถ้าปวด กินยาแก้ปวด ใช้น้ำแข็งประคบ
5. ถ้าหนังตาบวมหรือหายใจไม่สะดวก หรือถูกต่อยหลายแห่ง รีบไปหาหมอ
1. ใช้หลอดกาแฟ หรือปลายปากกาลูกลื่นที่ถอดไส้ปากกออก ครอบจุดที่ถูกกัด กดลงให้เหล็กในโผล่ แล้วดึงเหล็กในออก ถ้า
บริเวณที่ถูกต่อยบวมแล้ว อย่าไปบีบเพราะจะทำให้อักเสบมากขึ้น
2. ใช้หัวหอมผ่าครึ่ง เอาด้านที่ผ่าถูผิวหนังบริเวณที่ถูกต่อย ทำซ้ำทุก 5 นาที
3. ทาแผลด้วยครีมสเตียรอยด์ หรือแอมโมเนีย
4. ถ้าปวด กินยาแก้ปวด ใช้น้ำแข็งประคบ
5. ถ้าหนังตาบวมหรือหายใจไม่สะดวก หรือถูกต่อยหลายแห่ง รีบไปหาหมอ
วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
งูพิษกัด
งูพิษกัด
1. ดูรอยแผล ถ้างูไม่มีพิษ แผลจะเป็นรอยถลอก ทำแผลแบบแผลถลอก ถ้าแผลไม่ลุกลาม ไม่มีอาการอื่น ไม่ต้องไปหาหมอ แต่ถ้า
เป็นงูพิษ จะมีรอยเขี้ยว 1 หรือ 2 จุด ถ้าสงสัยเป็นงูพิษให้ทำตามข้อ 2-7
2. ให้นอนนิ่งๆ ปลอบใจอย่าให้ตกใจ เคลื่อนไหวน้อยที่สุด
3. ห้ามดื่มเหล้า ยาดองเหล้า หรือยากล่อมประสาท
4. ห้ามใช้มีดกรีดแผล ห้ามบีบเค้นบริเวณแผล เพราะทำให้แผลช้ำ สกปรก พิษกระจายเร็วขึ้น
5. ถ้าจะรัด ควรใช้ผ้า รัดไม่แน่นมากพอให้สอดนิ้วผ่านได้
6. รีบพาไปหาหมอ ควรนำซากงูไปด้วยหรือจดจำลักษณะงู
7. ถ้าหยุดหายใจ ให้เป่าปากช่วยหายใจ
? แผลคนกัดหรือสัตว์เช่น หมา แมว สัตว์ป่ากัด
1. ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดทันที เช่น น้ำก๊อก น้ำต้มสุก กับสบู่ ฟอกหลายๆครั้ง
2. เช็ดรอบแผลด้วย น้ำยาโพวิโดนไอโอดีน แอลกอฮอล์หรือทิงเจอร์ไส่แผลสด
3. ไปหาหมอเพื่อพิจารณาฉีดยาป้องกันบาดทะยัก โรคกลัวน้ำ และการใช้ยาปฏิชีวนะ
1. ดูรอยแผล ถ้างูไม่มีพิษ แผลจะเป็นรอยถลอก ทำแผลแบบแผลถลอก ถ้าแผลไม่ลุกลาม ไม่มีอาการอื่น ไม่ต้องไปหาหมอ แต่ถ้า
เป็นงูพิษ จะมีรอยเขี้ยว 1 หรือ 2 จุด ถ้าสงสัยเป็นงูพิษให้ทำตามข้อ 2-7
2. ให้นอนนิ่งๆ ปลอบใจอย่าให้ตกใจ เคลื่อนไหวน้อยที่สุด
3. ห้ามดื่มเหล้า ยาดองเหล้า หรือยากล่อมประสาท
4. ห้ามใช้มีดกรีดแผล ห้ามบีบเค้นบริเวณแผล เพราะทำให้แผลช้ำ สกปรก พิษกระจายเร็วขึ้น
5. ถ้าจะรัด ควรใช้ผ้า รัดไม่แน่นมากพอให้สอดนิ้วผ่านได้
6. รีบพาไปหาหมอ ควรนำซากงูไปด้วยหรือจดจำลักษณะงู
7. ถ้าหยุดหายใจ ให้เป่าปากช่วยหายใจ
? แผลคนกัดหรือสัตว์เช่น หมา แมว สัตว์ป่ากัด
1. ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดทันที เช่น น้ำก๊อก น้ำต้มสุก กับสบู่ ฟอกหลายๆครั้ง
2. เช็ดรอบแผลด้วย น้ำยาโพวิโดนไอโอดีน แอลกอฮอล์หรือทิงเจอร์ไส่แผลสด
3. ไปหาหมอเพื่อพิจารณาฉีดยาป้องกันบาดทะยัก โรคกลัวน้ำ และการใช้ยาปฏิชีวนะ
วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
แผลถูกน้ำร้อนหรือไฟลวก
แผลถูกน้ำร้อนหรือไฟลวก
1. แช่บริเวณที่ถูกลวกในน้ำเย็นสะอาดหรือใช้ผ้าชุบน้ำเย็นโปะ หรือใช้ถุงพลาสติกสะอาดใส่น้ำเย็นวางตรงที่ถูกลวก จนอาการดีขึ้น ประมาณ 10-30 นาที แล้วตรวจดูผิวหนัง
2. ถ้าหนังไม่พุพองหรือหลุดลอก ให้ล้างแผลให้สะอาด ซับให้แห้ง แล้วทาด้วยครีมสเตียรอยด์บางๆหรือใช้น้ำปูนใสผสมน้ำมะพร้าว (อย่างละเท่ากัน ตีให้เข้ากัน) ทา หรือใช้วุ้นจากใบว่าหางจระเข้ทา
3. ถ้าเป็นตุ่มพองเล็กน้อย
1) ถ้าเกิดที่ฝ่ามือ ให้ล้างด้วยน้ำและสบู่ให้สะอาด ไม่ควรเจาะออก ปล่อยให้แห้งและหลุดล่อนไปเอง
2) ถ้าเกิดที่แขนขา หลังมือหรือหลังเท้า ให้ทำความสะอาด้วยน้ำสบู่ ใช้เข็มที่แช่แอลกอฮอล์หรือเข็มปราศจากเชื้อ เจาะน้ำที่ตุ่มพองออก ใช้ผ้าก๊อซกดซับน้ำเหลือง ทาด้วยยาใส่แผลสดเช่นน้ำยาโพวิโดนไอโอดีน แล้วพันด้วยผ้าพันแผล ถ้าไม่แน่ใจว่าจะทำได้ถูกต้องและสะอาดพอ อย่าเจาะตุ่มพอง ให้ทาตุ่มพองและบริเวณโดยรอบด้วยน้ำยาโพวิโดนไอโอดีนก็พอ0025006 ยาในชีวิตประจำวัน (Drug in Daily Life) ภญ.ดร.สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์ หน้า 34
4. ถ้าหนังหลุดออกขนาดไม่เกิน 2-3 ฝ่ามือ
1) ถ้าเกิดตามตัวหรือแขนขา ให้ทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผลหรือน้ำต้มสุก ถ้าสกปรกมากอายใช้สบู่เด็กฟอก แล้วทาด้วยยารักษาแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก หรือน้ำปูนใสผสมน้ำมะพร้าว หรือใช้วุ้นจากใบว่านหางจระเข้ ทาวันละ 1-2 ครั้ง
2) ถ้าเป็นที่แขน ขา ยกส่วนแผลให้สูงกว่าระดับหัวใจ ถ้าปวดให้กินยาแก้ปวด ควรปรึกษาหมอเพื่อพิจารณาฉีดยาป้องกันบาดทะยักและการใช้ยาปฏิชีวนะ
3) ถ้าเกิดที่ใบหน้าหรือข้อพับต่างๆ ควรรีบไปหาหมอ
5. ถ้าหนังหลุดลอกขนาดมากกว่า 3 ฝ่ามือ
1) เปลื้องเสื้อผ้าบริเวณที่ถูกลวกออก ถ้ามีกำไล แหวน ให้ถอดออก
2) ถ้ามีอาการคล้ายเป็นลม ให้นอนยกเท้าสูงเล็กน้อย
3) ถ้ากระหายน้ำ ให้ดื่มน้ำเกลือ ถ้าปวดให้กินยาแก้ปวด
4) ควรใช้ผ้าสะอาดบางๆคลุมแผล รีบพาไปหาหมอ
1. แช่บริเวณที่ถูกลวกในน้ำเย็นสะอาดหรือใช้ผ้าชุบน้ำเย็นโปะ หรือใช้ถุงพลาสติกสะอาดใส่น้ำเย็นวางตรงที่ถูกลวก จนอาการดีขึ้น ประมาณ 10-30 นาที แล้วตรวจดูผิวหนัง
2. ถ้าหนังไม่พุพองหรือหลุดลอก ให้ล้างแผลให้สะอาด ซับให้แห้ง แล้วทาด้วยครีมสเตียรอยด์บางๆหรือใช้น้ำปูนใสผสมน้ำมะพร้าว (อย่างละเท่ากัน ตีให้เข้ากัน) ทา หรือใช้วุ้นจากใบว่าหางจระเข้ทา
3. ถ้าเป็นตุ่มพองเล็กน้อย
1) ถ้าเกิดที่ฝ่ามือ ให้ล้างด้วยน้ำและสบู่ให้สะอาด ไม่ควรเจาะออก ปล่อยให้แห้งและหลุดล่อนไปเอง
2) ถ้าเกิดที่แขนขา หลังมือหรือหลังเท้า ให้ทำความสะอาด้วยน้ำสบู่ ใช้เข็มที่แช่แอลกอฮอล์หรือเข็มปราศจากเชื้อ เจาะน้ำที่ตุ่มพองออก ใช้ผ้าก๊อซกดซับน้ำเหลือง ทาด้วยยาใส่แผลสดเช่นน้ำยาโพวิโดนไอโอดีน แล้วพันด้วยผ้าพันแผล ถ้าไม่แน่ใจว่าจะทำได้ถูกต้องและสะอาดพอ อย่าเจาะตุ่มพอง ให้ทาตุ่มพองและบริเวณโดยรอบด้วยน้ำยาโพวิโดนไอโอดีนก็พอ0025006 ยาในชีวิตประจำวัน (Drug in Daily Life) ภญ.ดร.สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์ หน้า 34
4. ถ้าหนังหลุดออกขนาดไม่เกิน 2-3 ฝ่ามือ
1) ถ้าเกิดตามตัวหรือแขนขา ให้ทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผลหรือน้ำต้มสุก ถ้าสกปรกมากอายใช้สบู่เด็กฟอก แล้วทาด้วยยารักษาแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก หรือน้ำปูนใสผสมน้ำมะพร้าว หรือใช้วุ้นจากใบว่านหางจระเข้ ทาวันละ 1-2 ครั้ง
2) ถ้าเป็นที่แขน ขา ยกส่วนแผลให้สูงกว่าระดับหัวใจ ถ้าปวดให้กินยาแก้ปวด ควรปรึกษาหมอเพื่อพิจารณาฉีดยาป้องกันบาดทะยักและการใช้ยาปฏิชีวนะ
3) ถ้าเกิดที่ใบหน้าหรือข้อพับต่างๆ ควรรีบไปหาหมอ
5. ถ้าหนังหลุดลอกขนาดมากกว่า 3 ฝ่ามือ
1) เปลื้องเสื้อผ้าบริเวณที่ถูกลวกออก ถ้ามีกำไล แหวน ให้ถอดออก
2) ถ้ามีอาการคล้ายเป็นลม ให้นอนยกเท้าสูงเล็กน้อย
3) ถ้ากระหายน้ำ ให้ดื่มน้ำเกลือ ถ้าปวดให้กินยาแก้ปวด
4) ควรใช้ผ้าสะอาดบางๆคลุมแผล รีบพาไปหาหมอ
วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
แผลที่อวัยวะส่วนปลายถูกตัดขาด
แผลที่อวัยวะส่วนปลายถูกตัดขาด
1. ห้ามเลือด ล้างและปิดแผล
2. นำอวัยวะส่วนที่ขาดใส่ถุงพลาสติกที่สะอาดและแห้ง (ห้ามล้างและปิดแผลอวัยวะส่วนที่ถูกตัดขาด) ปิดปากถุงให้แน่น นำถุงนั้นใส่ถังหรือถุงที่ใหญ่กว่าที่มีน้ำและน้ำแข็งผสมกัน
3. รีบนำผู้ป่วยและอวัยวะส่วนที่ขาดส่งโรงพยาบาล
1. ห้ามเลือด ล้างและปิดแผล
2. นำอวัยวะส่วนที่ขาดใส่ถุงพลาสติกที่สะอาดและแห้ง (ห้ามล้างและปิดแผลอวัยวะส่วนที่ถูกตัดขาด) ปิดปากถุงให้แน่น นำถุงนั้นใส่ถังหรือถุงที่ใหญ่กว่าที่มีน้ำและน้ำแข็งผสมกัน
3. รีบนำผู้ป่วยและอวัยวะส่วนที่ขาดส่งโรงพยาบาล
วันอังคารที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
แผลไส้ทะลัก
แผลไส้ทะลัก
1. ห้ามยัดไส้กลับเข้าไป
2. ใช้ผ้าสะอาดชุบน้ำสะอาดคลุมบนลำไส้และปากแผล ใช้ผ้าสะอาดปิดหรือพันรอบท้องให้แน่นพอสมควร
3. ถ้าปวดมากให้นอนงอขาและเข่า
4. รีบนำส่งโรงพยาบาล
1. ห้ามยัดไส้กลับเข้าไป
2. ใช้ผ้าสะอาดชุบน้ำสะอาดคลุมบนลำไส้และปากแผล ใช้ผ้าสะอาดปิดหรือพันรอบท้องให้แน่นพอสมควร
3. ถ้าปวดมากให้นอนงอขาและเข่า
4. รีบนำส่งโรงพยาบาล
วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
การห้ามเลือดจากบาดแผลและเลือดกำเดา
1. ถ้าบาดแผลเล็ก ให้ล้างแผล แล้วใช้นิ้วมือสะอาดกดปากแผล หรือใช้แผ่นผ้าสะอาดวางบนแผลแล้วกดให้แน่น 5-10 นาที จนเลือดหยุด แล้วใช้ผ้าพันไว้
2. ถ้าแผลใหญ่ ล้างแผล ใช้แผ่นผ้าพับปิดปากแผล ใช้ส้นมือหรือฝ่ามือกดให้แน่น 10-15 นาที จนเลือดหยุด รีบส่งโรงพยาบาล ถ้าเลือดไม่หยุดไหลและแผลเกิดที่แขนหรือขา ให้ใช้ส้นมือกดที่หลอดเลือดแดงที่แขนพันหรือขาหนีบ (ดูรูป) จนเลือดพอไหลซึมๆ0025006 ยาในชีวิตประจำวัน (Drug in Daily Life) ภญ.ดร.สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์ หน้า 33อย่ากดจนแขนหรือขาซีดหรือเขียว รีบส่งโรงพยาบาล ถ้าอวัยวะถูกตัดขาด ให้ห้ามเลือดเช่นเดียวกับข้างต้นและนำอวัยวะส่วนที่ถูกตัดขาดใส่ถุงพลาสติกที่สะอาดและแห้ง ห้ามล้างอวัยวะที่ถูกตัดขาด แล้วปิดปากถุงให้แน่น แช่ถุงนั้นในถุงพลาสติกหรือ
ภาชนะที่ใหญ่กว่าที่มีน้ำผสมน้ำแข็งอยู่แล้วรีบนำส่งโรงพยาบาลพร้อมผู้ป่วย
3. ถ้าเลือดออกตามไรฟันหรือเหงือกให้อมน้ำเย็นหรือน้ำแข็งจนเลือดหยุดหรือออกน้อยลง ถ้าเลือดออกตรงที่ฟันหลุด ให้ใช้ก้อนผ้า วางลงตรงจุดที่เลือดออกแล้วกัดให้แน่น 10-15 นาทีหรือนานกว่า จนเลือดหยุด ถ้าเลือดไม่หยุดหรือไหลอีกให้ทำแบบเดิมและไปพบหมอฟัน
4. กรณีเลือดกำเดาไหล ให้นั่งพัก ก้มศีรษะไปข้างหน้า บีบจมูก ส่วนที่ไม่ใช่กระดูกแข็ง ให้แน่นอย่างน้อย 5-10 นาทีจนเลือดหยุดระหว่างนั้นให้หายใจทางปาก ถ้าเลือดตกไปในคอให้บ้วนออกมา ถ้ามีน้ำแข็งหรือผ้าเย็นให้โปะบริเวณจมูก เมื่อคลายมือที่บีบออกแล้วยังมีเลือดออกให้บีบใหม่ 10-15 นาที ถ้ายังไม่หยุดให้ไปโรงพยาบาล
5. ถ้าเลือดออกจากทวารหนัก เป็นเลือดสดๆ หยดออกมาเมื่ออุจจาระแข็งหรือเบ่งอุจจาระมาก มักเกิดจากริดสีดวงทวาร ให้ขมิบ
ก้นกันไว้ และนั่งทับก้อนผ้าที่วางไว้ตรงปากทวารหนัก แล้วไปโรงพยาบาล
1. ถ้าบาดแผลเล็ก ให้ล้างแผล แล้วใช้นิ้วมือสะอาดกดปากแผล หรือใช้แผ่นผ้าสะอาดวางบนแผลแล้วกดให้แน่น 5-10 นาที จนเลือดหยุด แล้วใช้ผ้าพันไว้
2. ถ้าแผลใหญ่ ล้างแผล ใช้แผ่นผ้าพับปิดปากแผล ใช้ส้นมือหรือฝ่ามือกดให้แน่น 10-15 นาที จนเลือดหยุด รีบส่งโรงพยาบาล ถ้าเลือดไม่หยุดไหลและแผลเกิดที่แขนหรือขา ให้ใช้ส้นมือกดที่หลอดเลือดแดงที่แขนพันหรือขาหนีบ (ดูรูป) จนเลือดพอไหลซึมๆ0025006 ยาในชีวิตประจำวัน (Drug in Daily Life) ภญ.ดร.สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์ หน้า 33อย่ากดจนแขนหรือขาซีดหรือเขียว รีบส่งโรงพยาบาล ถ้าอวัยวะถูกตัดขาด ให้ห้ามเลือดเช่นเดียวกับข้างต้นและนำอวัยวะส่วนที่ถูกตัดขาดใส่ถุงพลาสติกที่สะอาดและแห้ง ห้ามล้างอวัยวะที่ถูกตัดขาด แล้วปิดปากถุงให้แน่น แช่ถุงนั้นในถุงพลาสติกหรือ
ภาชนะที่ใหญ่กว่าที่มีน้ำผสมน้ำแข็งอยู่แล้วรีบนำส่งโรงพยาบาลพร้อมผู้ป่วย
3. ถ้าเลือดออกตามไรฟันหรือเหงือกให้อมน้ำเย็นหรือน้ำแข็งจนเลือดหยุดหรือออกน้อยลง ถ้าเลือดออกตรงที่ฟันหลุด ให้ใช้ก้อนผ้า วางลงตรงจุดที่เลือดออกแล้วกัดให้แน่น 10-15 นาทีหรือนานกว่า จนเลือดหยุด ถ้าเลือดไม่หยุดหรือไหลอีกให้ทำแบบเดิมและไปพบหมอฟัน
4. กรณีเลือดกำเดาไหล ให้นั่งพัก ก้มศีรษะไปข้างหน้า บีบจมูก ส่วนที่ไม่ใช่กระดูกแข็ง ให้แน่นอย่างน้อย 5-10 นาทีจนเลือดหยุดระหว่างนั้นให้หายใจทางปาก ถ้าเลือดตกไปในคอให้บ้วนออกมา ถ้ามีน้ำแข็งหรือผ้าเย็นให้โปะบริเวณจมูก เมื่อคลายมือที่บีบออกแล้วยังมีเลือดออกให้บีบใหม่ 10-15 นาที ถ้ายังไม่หยุดให้ไปโรงพยาบาล
5. ถ้าเลือดออกจากทวารหนัก เป็นเลือดสดๆ หยดออกมาเมื่ออุจจาระแข็งหรือเบ่งอุจจาระมาก มักเกิดจากริดสีดวงทวาร ให้ขมิบ
ก้นกันไว้ และนั่งทับก้อนผ้าที่วางไว้ตรงปากทวารหนัก แล้วไปโรงพยาบาล
วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
การกู้ชีพหรือการฟื้นคืนชีพ โดยการเป่าปากช่วยหายใจและการนวดหัวใจ
การกู้ชีพหรือการฟื้นคืนชีพ โดยการเป่าปากช่วยหายใจและการนวดหัวใจ
ถ้าผู้ป่วยหมดสติ ไม่หายใจ ไม่กระดุกกระดิกเลย ให้เป่าปากช่วยหายใจ 2 ครั้ง สลับกับการนวดหัวใจ 30 ครั้ง ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถึงมือแพทย์ ถ้ามีผู้ช่วยกู้ชีพ 2 คน ให้เป่าปากช่วยหายใจ 1 คน และนวดหัวใจ 1 คน แล้วสลับหน้าที่กันทุก 2 นาที ในกรณีที่ไม่กล้าเป่าปากหรือเป่าไม่เป็น ให้นวดหัวใจ 100 ครั้ง/นาที ไปเรื่อยๆเพียงอย่างเดียว ก็อาจทำให้ผู้ป่วยรอดชีวิตได้
1. วิธีการเป่าปากช่วยหายใจ
1) จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงาย
2) ใช้มือหนึ่งกดหน้าผากลง อีกมือหนึ่งเชยคาง เงยหน้าให้สูงขึ้น
3) อ้าปากผู้ป่วยออก เช็ดน้ำมูกน้ำ ล า ย แ ล ะ ล้ว ง เ อ า สิ่งแปลกปลอมออกจากปาก “ สำ ลัก สิ่ง
แปลกปลอมแล้วติดคอหรือหายใจไม่ออก”
4) ผู้ช่วยหายใจ หายใจเข้าเต็มปอดของตน
5) อ้าปากคร่อมไปบนปากผู้ป่วยจนสนิท อาจใช้พลาสติกเจาะรู้วางรองก่อนก็ได้
6) บีบจมูกผู้ป่วยให้แน่น
7) เป่าลมเข้าไปในปากผู้ป่วยช้าๆ (1-1.5 วินาที) สังเกตที่หน้าอกยกขึ้นตามจังหวะการเป่า
8) ผู้ช่วยหายใจถอนปากออก แล้วเริ่มทำข้อ 4-8 ใหม่
2. วิธีนวดหัวใจ
1) วางส้นมือลงบนกระดูกกลางหน้าอกเหนือลิ้นปี่ 2 นิ้วมือ (ดูรูป)
2) โน้มตัวให้ตั้งฉากกับมือทั้งสองที่กดหน้าอก เพื่อถ่ายน้ำหนักตัวลงบนแขน 2 ข้างได้สะดวก
3) ถ่ายน้ำหนักลงไป นับจำนวนที่กดทุกครั้ง 1-2-3-4-... จนถึง 30 โดยกดลงด้วยน้ำหนักที่ทำให้กระดูกหน้าอกยุบลงประมาณ
4-5 ซม. ในผู้ใหญ่หรือประมาณ 1/3 ของความหนาอกในเด็กเล็ก ด้วยอัตรา 100 ครั้ง/นาที
ถ้าผู้ป่วยหมดสติ ไม่หายใจ ไม่กระดุกกระดิกเลย ให้เป่าปากช่วยหายใจ 2 ครั้ง สลับกับการนวดหัวใจ 30 ครั้ง ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถึงมือแพทย์ ถ้ามีผู้ช่วยกู้ชีพ 2 คน ให้เป่าปากช่วยหายใจ 1 คน และนวดหัวใจ 1 คน แล้วสลับหน้าที่กันทุก 2 นาที ในกรณีที่ไม่กล้าเป่าปากหรือเป่าไม่เป็น ให้นวดหัวใจ 100 ครั้ง/นาที ไปเรื่อยๆเพียงอย่างเดียว ก็อาจทำให้ผู้ป่วยรอดชีวิตได้
1. วิธีการเป่าปากช่วยหายใจ
1) จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงาย
2) ใช้มือหนึ่งกดหน้าผากลง อีกมือหนึ่งเชยคาง เงยหน้าให้สูงขึ้น
3) อ้าปากผู้ป่วยออก เช็ดน้ำมูกน้ำ ล า ย แ ล ะ ล้ว ง เ อ า สิ่งแปลกปลอมออกจากปาก “ สำ ลัก สิ่ง
แปลกปลอมแล้วติดคอหรือหายใจไม่ออก”
4) ผู้ช่วยหายใจ หายใจเข้าเต็มปอดของตน
5) อ้าปากคร่อมไปบนปากผู้ป่วยจนสนิท อาจใช้พลาสติกเจาะรู้วางรองก่อนก็ได้
6) บีบจมูกผู้ป่วยให้แน่น
7) เป่าลมเข้าไปในปากผู้ป่วยช้าๆ (1-1.5 วินาที) สังเกตที่หน้าอกยกขึ้นตามจังหวะการเป่า
8) ผู้ช่วยหายใจถอนปากออก แล้วเริ่มทำข้อ 4-8 ใหม่
2. วิธีนวดหัวใจ
1) วางส้นมือลงบนกระดูกกลางหน้าอกเหนือลิ้นปี่ 2 นิ้วมือ (ดูรูป)
2) โน้มตัวให้ตั้งฉากกับมือทั้งสองที่กดหน้าอก เพื่อถ่ายน้ำหนักตัวลงบนแขน 2 ข้างได้สะดวก
3) ถ่ายน้ำหนักลงไป นับจำนวนที่กดทุกครั้ง 1-2-3-4-... จนถึง 30 โดยกดลงด้วยน้ำหนักที่ทำให้กระดูกหน้าอกยุบลงประมาณ
4-5 ซม. ในผู้ใหญ่หรือประมาณ 1/3 ของความหนาอกในเด็กเล็ก ด้วยอัตรา 100 ครั้ง/นาที
วันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การปฐมพยาบาล หมายถึง การช่วยเหลือผู้ป่วย ซึ่งได้รับอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยอย่างกะทันหัน โดยใช้เครื่องมือเท่าที่หาได้ใน
ขณะนั้น เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีอันตรายน้อยลง ก่อนจะส่งไปพบแพทย์หรือสถานพยาบาลเพื่อรักษาต่อไป
วัตถุประสงค์ในการปฐมพยาบาล
1. เพื่อให้รอดชีวิต หรือลดความรุนแรงของการบาดเจ็บ
2. ป้องกันไม่ให้อาการเลวลง
3. ส่งเสริมการฟื้นฟูให้กลับคืนสู่ปกติได้อย่างรวดเร็ว
หลักปฏิบัติทั่วไปสำหรับกรณีฉุกเฉิน
1. ตั้งสติให้ได้ อย่าตกใจลนลาน
2. ขอความช่วยเหลือจากคนรอบข้างหรือโทร 191, 1669 (หน่วยกู้ชีพที่อยู่ใกล้) และขอคำแนะนำ
3. ป้องกันภัยก่อน เช่น จะเข้าไปช่วยคนไฟดูด ต้องตัดไฟก่อน จะช่วยคนถูกรถชน ให้หากิ่งไม้วางขวางห่างจากจุดเกิดเหตุ
100-200 เมตรก่อน
4. เข้าสู่ที่เกิดเหตุอย่างระมัดระวัง
5. รีบนำผู้ป่วยออกจากอันตราย ถ้าคาดว่าบาดเจ็บที่กระดูกคอหรือหลัง รอผู้เชี่ยวชาญมาเคลื่อนย้าย
6. ประเมินสภาพผู้ป่วย ให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
7. รีบนำส่งโรงพยาบาล
วันศุกร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
การได้รับสารพิษ
การได้รับสารพิษ
หมายถึง สารพิษเข้าสู่ร่างกายโดย
การรับประทาน
สูดหายใจ
สัมผัสทางผิวหนัง หรือ
ฉีดผ่านผิวหนังเข้าไปในร่างกาย
ทำให้เกิดอันตราย พิการ ถึงแก่ชีวิต ทั้งนี้อาจเกิดจากความจงใจ เช่น ฆ่าตัวตาย หรือจากอุบัติเหตุ รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ได้
สารพิษที่ควรทราบคือ
สารพิษที่เกี่ยวกับการเกษตร เช่น ยากำจัดศัตรูพืช ยาบำรุงพืช ปุ๋ย หรือยากระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช
สารพิษที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรม เช่น แอลกอฮอล์ กรด และ ด่าง โลหะและก๊าซ เป็นต้น
สารพิษที่เกี่ยวข้องกับการปรุงอาหารโดยใช้ผิดประเภท เช่น สีผสมอาหาร น้ำมัน และรวมถึงของใช้ในบ้าน เช่น สบู่ ผงซักฟอก น้ำยาล้างห้องน้ำ
สารพิษเกิดจากการใช้ยา เช่น ยานอนหลับ ยากระตุ้นประสาท ยาพิษ เป็นต้น
สารพิษจากพืชและสัตว์ เช่น พิษจากมันสำปะหลังดิบ (ไซยาไนด์) พิษจากเห็ด หรือสารพิษจากแมลงกัดต่อย งูกัด สุนัขบ้ากัด เป็นต้น
สารพิษเข้าสู่ร่างกายโดยการรับประทาน
มี 4 ประเภท
1. สารกัดกร่อน คือ สารที่ทำลายเนื้อเยื่อของร่างกายโดยเร็ว คือ กรด ด่าง เป็นต้น ทำให้เกิดแผลไฟไหม้บริเวณปาก ลิ้น หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร มีอาการเจ็บปวดรุนแรง อาเจียนออกมาเป็นเลือดสีดำ
2. สารระคายเคือง เป็นสารที่ไม่ได้ทำลายเนื้อเยื่อโดยตรง แต่ทำให้อักเสบ เกิดคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง เป็นลมหน้ามืด ได้แก่ พวกไนเตรต (ดินประสิว) สารหนู กำมะถัน เป็นต้น
สารกดประสาท เมื่อรับประทานเข้าไปแรกๆ ผู้ป่วยจะตื่นเต้นชั่วคราว ต่อมาจะเชื่องซึม หายใจช้า มีเสียงกรน ผิวหนังเย็นชื้น หน้าและมือเขียวคล้ำ กล้ามเนื้อปวกเปียก ได้แก่ พวกฝิ่น มอร์ฟีน ยานอนหลับ แอลกอฮอล์ เป็นต้น
สารพวกกระตุ้นประสาท ทำให้ผู้ป่วยกระวนกระวาย เพ้อ หายใจลำบาก ผิวหนังแห้ง ร้อน ชีพจรเต้นเร็ว กล้ามเนื้อหดเกร็ง และชักได้ ได้แก่ สารพวกกระตุ้นประสาท สารสตริกนิน (ยาเบื่อสุนัข) อะโทรปีน (atropine) เป็นต้น
Atropine
พบในพืช ชื่อว่า ลำโพงขาว
(ส่วนของใบ ดอก และผล)
รีบนำส่งโรงพยาบาล
หาชนิดของสารพิษที่ผู้ป่วยรับประทานเข้าไป เก็บตัวอย่างให้แพทย์ตรวจ
พยายามเอาสารพิษออกจากกระเพาะอาหารให้มาก โดยทำให้อาเจียน (ยกเว้นผู้ป่วยที่รับประทานสารกัดกร่อน เช่น กรด ด่าง หรือ น้ำมันระเหย ห้ามทำให้อาเจียนโดยเด็ดขาด)
ปฐมพยาบาลผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
Ramathibodi Poison Center ศูนย์พิษวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี
http://www.ra2.mahidol.ac.th/poisoncenter/
Tel: (02) 354-7272, (02) 201-1083 , Fax: (02) 201-1084, Hotline: 1367 Email: poisfeedback@hotmail.com
สิ่งที่ควรทราบเมื่อพบผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษ
สารที่ผู้ป่วยได้รับเข้าไปคืออะไร
ได้รับเมื่อไร ปริมาณเท่าไร
อาการที่ผู้ป่วยเป็น
ให้เก็บขวดสารพิษ ฉลาก เท่าที่หาได้นำไปพบแพทย์ด้วย
ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลช้าเกินไป อาจไม่สามารถแก้ไขได้
รีบนำส่งโรงพยาบาล
วันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
การคลำชีพจร
การคลำชีพจร
ชีพจร คือ จังหวะการเต้นของหัวใจ สามารถคลำพบได้พบและสะดวกมากที่สุด คือที่ ข้อมือ หรือ ตำแหน่งอื่นๆ ที่สามารถคลำได้ เช่น ข้อศอกด้านใน ที่คอ ที่ขมับ เป็นต้น
ชีพจรเป็นสิ่งที่บอกถึงลักษณะการทำงานของหัวใจ สภาพของหลอดเลือด และสภาพการไหลเวียนเลือดของร่างกาย การตรวจนับชีพจร เพื่อดูว่าหัวใจเต้นหรือไม่
สิ่งที่ต้องสังเกตในขณะจับชีพจร คือ
อัตราเร็วของชีพจร หมายถึง อัตราการเต้นของหัวใจ โดยปกติ ชีพจรปกติในผู้ใหญ่ 70-80 ครั้ง/นาที เด็ก 90-130 ครั้ง/นาที ผู้สูงอายุชีพจรจะลดลงเหลือประมาณ 60-70 ครั้ง/นาที
จังหวะ หมายถึง จังหวะการเต้นของชีพจร ตามปกติต้องสม่ำเสมอกัน
ความแรงของชีพจร หมายถึง จำนวนของเลือดในกระแสเลือด ถ้าในกระแสเลือดมีเลือดมากตามปกติ ชีพจรจะเต้นแรง แต่ถ้าจำนวนเลือดลดน้อยลง เช่น ถ้ามีการเสียเลือดมาก ชีพจรจะเบา เร็ว
วิธีการจับชีพจร
ให้ผู้บาดเจ็บอยู่ในท่าที่สบาย นั่งหรือนอนก็ได้
ให้ผู้บาดเจ็บเหยียดแขน ข้อมือเหยียดตรง
ผู้ปฐมพยาบาลวางนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนางวางที่เส้นเลือดที่ข้อมือด้านหัวแม่มือ และกดลงเบาๆ
ในผู้บาดเจ็บที่อาการหนักจะต้องจับชีพจรทุก 15-30 นาที
ลักษณะการเต้นของชีพจรว่าสม่ำเสมอหรือไม่ ความแรงเท่ากันหรือไม่ ถ้าพบผู้บาดเจ็บที่มีชีพจรผิดไปกว่าปกติ รีบส่งแพทย์
วันพุธที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
หัวใจหยุดเต้น
หัวใจหยุดเต้น
สาเหตุ
สาเหตุเกิดจากหัวใจโดยตรง เนื่องจากโรคหัวใจที่เป็นมาแต่กำเนิด และโรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง ทั้งประเภทเรื้อรังและประเภทเฉียบพลัน ทำให้เกิดเลือดไปเลี้ยงหัวใจน้อยลง เลือดที่สูบฉีดออกจากหัวใจไปเลี้ยงร่างกายลดลง ทำให้เต้นผิดจังหวะ หรือ กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถทำงานได้เป็นปกติ
หัวใจหยุดเต้น
สาเหตุอื่นๆ นอกหัวใจ ได้แก่ ภาวะขาดออกซิเจน เช่น ผูกคอ ถูกบีบรัดคอ สูดลมควันไฟ หรือ ควันพิษเข้าปอด ยาบางชนิด หรือ เสียเลือดจนช็อก จมน้ำ ถูกไฟฟ้าดูด เป็นต้น
อาการของหัวใจหยุดเต้น
ผู้ป่วยจะไม่รู้สึกตัว ซีดและเขียว หยุดหายใจ หรือ หายใจขัด หอบ คลำชีพจรไม่พบ โดยเฉพาะคลำที่คอ ฟังเสียงหัวใจไม่พบ
เมื่อหัวใจหยุดเต้น สมองจะขาดเลือดไปเลี้ยง ถ้าสมองขาดเลือดไปเลี้ยงชั่วเวลาเพียง 3 นาทีเท่านั้น จะทำให้สมองและระบบประสาทสูญเสียหน้าที่ไปอย่างถาวร แม้ช่วยชีวิตไว้ได้ในเวลาต่อมา ผู้ป่วยจะเป็นคนพิการตลอดชีวิต ไม่สามารถรู้สึกตัวและช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ฉะนั้นการปฐมพยาบาลผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่สุด
วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
การหายใจขัด หรือ หยุดหายใจ
การหายใจขัด หรือ หยุดหายใจ
สาเหตุ
ถูกรัดคอ หรือ ถูกบีบคอ โดยมากเกิดจากการผูกคอตาย ถูกบีบคอทำร้าย หรือ ประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บบริเวณลำคอ ใบหน้า ผู้ช่วยเหลือควรแก้สิ่งที่รัดคอออกโดยเร็ว แล้วรีบผายปอด
ถูกกระแสไฟฟ้าดูด ผู้ช่วยเหลือต้องปิดทางเดินกระแสไฟฟ้าโดยเร็ว หรือ เขี่ยเอาสายไฟฟ้าออกโดยใช้ไม้แห้ง หรือ คล้องเกี่ยวกับผู้ป่วยออกจากแหล่งไฟฟ้าดูด คลุมตัวด้วยผ้า และรีบส่งแพทย์ ในกรณีที่หยุดหายใจให้รีบผายปอด
ถูกควันหรือไอพิษ เช่น ก๊าซหุงต้ม ไอเสียจากเครื่องยนต์
จากเพลิงไหม้ ให้รีบนำผู้ป่วยออกจากที่เกิดเหตุไปยังที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก รีบผายปอด แล้วส่งโรงพยาบาลสิ่งแปลกปลอมติดคอ มักเกิดขึ้นจากการสำลักอาหาร เด็กเอาของเล่นเข้าปาก
วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
เป็นลมหมดสติ
เป็นลมหมดสติ
หมายถึง อาการหมดสติชั่วคราว ความรุนแรงน้อยกว่า ช็อก มีสาเหตุมาจากเลือดที่ไปเลี้ยงสมองลดลงชั่วคราว
เกิดแก่ผู้ได้รับบาดเจ็บ มองเห็นเลือด มองเห็นบาดแผลแล้วตกใจ ร่างกายอ่อนเพลีย เช่น ยืนอยู่กับที่ในบริเวณอากาศร้อนๆ เป็นเวลานาน หรือเกิดในผู้ที่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงกระทันหัน เช่น ดีใจ หรือ เสียใจสุดขีด บางคนมีความดันเลือดต่ำอยู่แล้ว ทำให้เป็นลมหมดสติได้ง่าย
อาการ
ผู้ป่วยมีความรู้สึกว่าหน้ามืด อ่อนเปลี้ย ตาเห็นเงามืด ใบหน้าซีด ริมฝีปากเขียวคล้ำ มีเหงื่อออกที่ใบหน้าเป็นเม็ดโตๆ หายใจตื้น หอบ ชีพจรเต้นเร็วและเบา จนทรงตัวไม่ได้ ล้มลงในที่สุด
วิธีปฐมพยาบาล
ให้ผู้ป่วยนอนหงาย ศีรษะต่ำกว่าลำตัวเล็กน้อย ให้หายใจลึกๆ หรือให้ดมแอมโมเนียหอม ให้อากาศถ่ายเท และมีความเย็นโดยรอบ ในไม่ช้า ผู้ป่วยจะดีขึ้นเอง
เป็นลมหมดสติเนื่องจากความร้อน
ผู้ป่วยที่เป็นลมหมดสติเนื่องจากความร้อนมี 2 แบบ
1. เป็นลมหน้าแดง (ลมแดด) เกิดจากอยู่ในที่แดดจัดนานๆ หน้าแดง ผิวแห้งและร้อน ชีพจรเต้นเร็วและแรง อุณหภูมิร่างกายสูง ผิวหนังร้อนจัด
วิธีปฐมพยาบาล คือ รีบนำผู้ป่วยเข้าที่ร่ม คลายเสื้อผ้าให้หลวม เช็ดตัวด้วยน้ำเย็น ให้ดื่มน้ำเย็น ถ้าอาการไม่ดีขึ้น รีบนำส่งโรงพยาบาล
เป็นลมหมดสติเนื่องจากความร้อน
2.เป็นลมหน้าซีด (ลมร้อน) เกิดจากร่างกายสูญเสียเหงื่อมากๆ เพราะอากาศร้อน ผู้ป่วยหน้าซีด ผิวหนังเย็นชื้น เหงื่อออก ชีพจรเต้นเบาและเร็ว อุณหภูมิในร่างกายต่ำกว่าปกติ
วิธีปฐมพยาบาล
รีบนำผู้ป่วยเข้าที่ร่ม ซึ่งมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก คลายเสื้อผ้าให้หลวม ให้ดื่มน้ำเกลือแร่ ให้นอนยกศีรษะสูงกว่าเท้า ถ้าอาการไม่ดีขึ้นให้นำส่งโรงพยาบาล
วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วิธีปฐมพยาบาลผู้ป่วยมีอาการช็อก
วิธีปฐมพยาบาลผู้ป่วยมีอาการช็อก |
ช็อก
หมายถึง สภาวะที่ร่างกายอ่อนเพลีย หมดแรง จนทำให้ระบบการทำงานของหัวใจและการไหลเวียนของโลหิตผิดจากภาวะปกติ
ผู้ป่วยแสดงอาการหน้าซีด ผิวหนังซีด หายใจเร็วและตื้น ชีพจรเต้นเร็วและเบา เหงื่อออกทั่วร่างกาย ผิวหนังเย็น รูม่านตาขยายกว้าง
ผู้ป่วยบ่นว่าอ่อนเพลีย หิวน้ำ วิงเวียน
หน้ามืด คลื่นเหียน และหมดสติไปในที่สุด
วิธีปฐมพยาบาลผู้ป่วยมีอาการช็อก
จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย โดยให้ศีรษะอยู่ในระดับต่ำกว่าเท้าเล็กน้อย อาจหนุนเท้าทั้งสองขึ้น คลุมตัวด้วยผ้าให้อบอุ่น ทั้งนี้เพื่อให้โลหิตไหลเวียนไปยังศีรษะให้ดีขึ้น
มีข้อยกเว้นในกรณีที่ต้องยกศีรษะให้สูงกว่าลำตัว คือผู้ที่บาดเจ็บที่ศีรษะและสมอง ผู้ที่เป็นลมหน้าแดงจากความร้อน เช่น กรำแดด หรืออยู่ในที่มีความร้อนสูงนานๆ ผู้ที่บาดเจ็บที่ทรวงอก ทำให้หายใจลำบาก
ในรายที่ผู้ป่วยหมดสติ ไม่รู้สึกตัว หรือบาดเจ็บที่ใบหน้า ควรให้นอนตะแคงหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง เพื่อไม่ให้สำลักเอาเลือดหรือเศษอาหารเข้าปอด เพราะทำให้เกิดการติดเชื้อที่ปอดตามมา คือ ปอดบวม (Pneumonia)
วันเสาร์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วิธีปฐมพยาบาลผู้ป่วยที่เลือดกำเดาออก
เลือดกำเดาออก
หมายถึง หลอดเลือดฝอยของเยื่อจมูกฉีกขาด มีเลือดไหลออกจากจมูก สาเหตุอาจเกิดจากถูกชกต่อยที่ใบหน้า หกล้ม กระดูกจมูกเคลื่อนหรือหัก ความดันเลือดสูง หรือ เป็นหวัดคัดจมูกมากๆ แคะจมูก หรือกรณีรุนแรงเกิดจากกะโหลกศีรษะแตก เป็นต้น
วิธีปฐมพยาบาลผู้ป่วยที่เลือดกำเดาออก
หากสงสัยว่ากะโหลกศีรษะแตก สมองบาดเจ็บ หรือผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูง อย่าพยายามห้ามเลือด เพราะไม่ได้ผล
หากเกิดจากสาเหตุอื่น โดยทั่วไปให้ผู้ป่วยก้มศีรษะเล็กน้อย บีบจมูกข้างที่เป็น
หายใจทางปากนานประมาณ 10 นาที
ประคบความเย็นบริเวณหน้าผาก
ถ้าไม่ได้ผลให้ส่งโรงพยาบาล
วันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
เลือดออก หรือ ตกเลือด
เลือดออก หรือ ตกเลือด
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
เลือดออกภายนอก ได้แก่ บาดแผลที่มองเห็นได้ชัด มีเลือดออกไหลออกมานอกผิวหนัง
เลือดออกภายใน ได้แก่ เลือดออกในอวัยวะ หรือ ช่องว่างต่างๆ ภายในร่างกาย โดยมองไม่เห็นเลือดไหลออกมานอกผิวหนัง มักเกิดอาการช็อกหรืออ่อนเพลีย
อาการตกเลือด จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนเลือดที่เสียไป และระยะเวลาที่เสียเลือด โดยผู้ป่วยมีอาการดังต่อไปนี้
หน้าซีด สังเกตจากริมฝีปาก เล็บ ลิ้น เปลือกตาด้านใน ผิวหนัง และฝ่ามือมีสีซีด
ผู้ป่วยบอกว่ารู้สึกหน้ามืด เวียนศีรษะ หูอื้อ ตาลาย และเป็นลม
มีอาการช็อก คือ เหงื่อออก ตัวเย็นชื้น และหมดสติ
หัวใจเต้นเร็ว ชีพจรเต้นเร็วและเบา
วิธีปฐมพยาบาลผู้ป่วยที่ตกเลือด
ให้ผู้ป่วยนอนราบ เปิดบริเวณที่เลือดออกให้เห็นชัด แต่อย่าให้ผู้ป่วยเห็นบาดแผลที่รุนแรง
ปลอบผู้ป่วยให้หายกังวล ให้นอนอยู่นิ่งๆ
คลายเครื่องแต่งกายให้หลวมๆ
ยกส่วนที่เลือดออกให้สูงกว่าส่วนอื่น เช่น ยกแขนหรือขา บางครั้งอาจทำให้เลือดหยุดได้
ทำการห้ามเลือด (หากเป็นการตกเลือดภายในให้รีบนำส่งโรงพยาบาล)
วันอังคารที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ขั้นตอนเข้าช่วยเหลือผู้ได้รับบาดเจ็บ (Step for Aider)
ขั้นตอนเข้าช่วยเหลือผู้ได้รับบาดเจ็บ (Step for Aider)เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับผู้ป่วย
เพื่อป้องกันอันตรายที่เกิดกับผู้ช่วยเหลือ
มี 3 ขั้นตอน
1. มีสติ
สิ่งสำคัญอันดับแรกที่นักปฐมพยาบาลจะต้องมี
ผู้เข้าช่วยเหลือต้องมีสติ
รับรู้ว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น
สถานการณ์ ณ ปัจจุบันเป็นอย่างไร
ตัวผู้เข้าช่วยสามารถเข้าช่วยหรือควบคุมสถานการณ์ได้เองหรือไม่
จำเป็นต้องขอความช่วยจากใครหรือไม่
การตัดสินใจเหล่านี้สำคัญมากทั้งตัวผู้เข้าช่วย และผู้บาดเจ็บ
2. ประเมินสถานการณ์
2.1 ประเมินสถานการณ์เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดกับตัวผู้เข้าช่วย
2.2 ประเมินสถานการณ์เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดกับตัวผู้บาดเจ็บเพิ่มเติม
2.3 ประเมินสถานการณ์เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดกับบุคคลรอบข้าง
หากประเมินแล้วพบว่าอันตรายยังคงมีอยู่ไม่ว่าจะเกิดกับตัวผู้เข้าช่วย / ผู้บาดเจ็บ /บุคคลรอบข้าง ต้องระงับหรือขจัดอันตรายเหล่านั้นออก
ไปก่อน
3. ประเมินผู้บาดเจ็บ
ไม่ใช่ขั้นตอนที่หนึ่ง
การประเมินผู้บาดเจ็บจะแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้
3.1 การประเมินผู้บาดเจ็บระยะเร่งด่วน
ประเมินสภาวะการมีชีวิตของผู้ป่วย โดยประเมิน 3 ระบบ คือ
ระบบประสาท
ระบบหายใจ
ระบบไหลเวียนโลหิต
ภาวะฉุกเฉินที่ต้องการปฐมพยาบาลมี 2 ประเภท คือ
1. ภาวะที่คุกคามชีวิต คือ ถ้าปฐมพยาบาลถูกต้องจะช่วยให้ชีวิตรอด ถ้าผิดจะพิการ หรือตาย
เลือดออก หรือ ตกเลือด
ช็อก และเป็นลมหมดสติ
หยุดหายใจ และหัวใจหยุดเต้น
การได้รับสารพิษเข้าไป
2. ภาวะที่ไม่รุนแรงถึงตาย แต่ผู้ปฐมพยาบาลช่วยให้ผ่อนคลายความเจ็บปวด และป้องกันมิให้เกิดบาดแผลลุกลามหรือบาดเจ็บยิ่งขึ้น เช่น บาดแผลจากของมีคม ถลอก หรือ ไฟไหม้ กระดูกหัก หรือ ข้อเคลื่อน เป็นต้น
เพื่อป้องกันอันตรายที่เกิดกับผู้ช่วยเหลือ
มี 3 ขั้นตอน
1. มีสติ
สิ่งสำคัญอันดับแรกที่นักปฐมพยาบาลจะต้องมี
ผู้เข้าช่วยเหลือต้องมีสติ
รับรู้ว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น
สถานการณ์ ณ ปัจจุบันเป็นอย่างไร
ตัวผู้เข้าช่วยสามารถเข้าช่วยหรือควบคุมสถานการณ์ได้เองหรือไม่
จำเป็นต้องขอความช่วยจากใครหรือไม่
การตัดสินใจเหล่านี้สำคัญมากทั้งตัวผู้เข้าช่วย และผู้บาดเจ็บ
2. ประเมินสถานการณ์
2.1 ประเมินสถานการณ์เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดกับตัวผู้เข้าช่วย
2.2 ประเมินสถานการณ์เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดกับตัวผู้บาดเจ็บเพิ่มเติม
2.3 ประเมินสถานการณ์เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดกับบุคคลรอบข้าง
หากประเมินแล้วพบว่าอันตรายยังคงมีอยู่ไม่ว่าจะเกิดกับตัวผู้เข้าช่วย / ผู้บาดเจ็บ /บุคคลรอบข้าง ต้องระงับหรือขจัดอันตรายเหล่านั้นออก
ไปก่อน
3. ประเมินผู้บาดเจ็บ
ไม่ใช่ขั้นตอนที่หนึ่ง
การประเมินผู้บาดเจ็บจะแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้
3.1 การประเมินผู้บาดเจ็บระยะเร่งด่วน
ประเมินสภาวะการมีชีวิตของผู้ป่วย โดยประเมิน 3 ระบบ คือ
ระบบประสาท
ระบบหายใจ
ระบบไหลเวียนโลหิต
ภาวะฉุกเฉินที่ต้องการปฐมพยาบาลมี 2 ประเภท คือ
1. ภาวะที่คุกคามชีวิต คือ ถ้าปฐมพยาบาลถูกต้องจะช่วยให้ชีวิตรอด ถ้าผิดจะพิการ หรือตาย
เลือดออก หรือ ตกเลือด
ช็อก และเป็นลมหมดสติ
หยุดหายใจ และหัวใจหยุดเต้น
การได้รับสารพิษเข้าไป
2. ภาวะที่ไม่รุนแรงถึงตาย แต่ผู้ปฐมพยาบาลช่วยให้ผ่อนคลายความเจ็บปวด และป้องกันมิให้เกิดบาดแผลลุกลามหรือบาดเจ็บยิ่งขึ้น เช่น บาดแผลจากของมีคม ถลอก หรือ ไฟไหม้ กระดูกหัก หรือ ข้อเคลื่อน เป็นต้น
วันจันทร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
กินยาผิดหรือกินยาพิษ ที่ไม่ใช่กรด ด่าง น้ำมันก๊าดหรือเบนซิน
กินยาผิดหรือกินยาพิษ ที่ไม่ใช่กรด ด่าง น้ำมันก๊าดหรือเบนซิน
1. ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดีอยู่ ให้พยายามใช้นิ้วล้วงคอ ทำให้อาเจียนซ้ำๆ แล้วรีบพาไปหาหมอ พร้อมนำยาที่กินไปด้วย
2. ถ้าผู้ป่วยหมดสติ ให้ปฐมพยาบาลแบบอาการหมดสติที่กล่าวแล้วข้างต้น ห้ามกรอกยาหรือให้กินอะไรทั้งสิ้น แล้วรีบพาไปหา
หมอ พร้อมนำยาที่กินไปด้วย
1. ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดีอยู่ ให้พยายามใช้นิ้วล้วงคอ ทำให้อาเจียนซ้ำๆ แล้วรีบพาไปหาหมอ พร้อมนำยาที่กินไปด้วย
2. ถ้าผู้ป่วยหมดสติ ให้ปฐมพยาบาลแบบอาการหมดสติที่กล่าวแล้วข้างต้น ห้ามกรอกยาหรือให้กินอะไรทั้งสิ้น แล้วรีบพาไปหา
หมอ พร้อมนำยาที่กินไปด้วย
วัตถุประสงค์ของการปฐมพยาบาล/สถานที่ส่งต่อผู้ป่วย/ อุปกรณ์ปฐมพยาบาล
วัตถุประสงค์ของการปฐมพยาบาล
ช่วยชีวิตผู้ป่วย โดยใช้วัสดุที่จะหาได้รอบข้าง
ป้องกันมิให้ผู้ป่วยมีสภาพเลวร้ายลง
ส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยให้คืนสภาพปกติโดยเร็ว
สถานที่ส่งต่อผู้ป่วย
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical Services System; EMS) หรือ โรงพยาบาล
อุปกรณ์ปฐมพยาบาล
1. สำลี
2. ผ้ากอซแผ่นชนิดฆ่าเชื้อ ทำความสะอาด / แอลกอฮอล์
3. คีมสำหรับบ่งเสี้ยน
4. ผ้าสามเหลี่ยม
5. ผ้ากอซพันแผลขนาดต่างๆ
6. กรรไกรขนาดกลาง
7. เข็มกลัดซ่อนปลาย
8. แก้วล้างตา
9. พลาสเตอร์ม้วน ชิ้น
10.ผ้ายืดพันแก้เคล็ดขัดยอก ( Elsatic bandage)
ความหมายของการปฐมพยาบาล และ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การปฐมพยาบาล, การปฐมพยาบาลเบื้องต้น |
ความหมายของการปฐมพยาบาล และ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การปฐมพยาบาล คือ การให้การพยาบาลช่วยเหลือขั้นต้นโดยรีบด่วน แก่ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยกะทันหัน เพื่อให้ผู้บาดเจ็บ/ผู้ป่วยได้รับอันตรายน้อยที่สุด ก่อนที่จะส่งถึงมือแพทย์
ผู้ให้การปฐมพยาบาล (First Aider) คือ ผู้ที่ช่วยเหลือผู้ป่วยที่บาดเจ็บ โดยมีความรู้ด้านการปฐมพยาบาล ด้วยเครื่องมือที่พอจะหาได้ในขณะนั้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)